Posted by : Unknown
วันเสาร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
ความรู้ หมายถึง (knowledge) ?
การประกอบกิจการหรือดำเนินการใดๆความรู้ คือ
ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้สิ่งที่ลงมือกระทำนั้นประสบความสำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ในบางครั้งความรู้ก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยากเนื่องจากมีนิยามความหมายที่กว้าง
หรือไม่สามารถกำหนดขอบเขตและเข้าใจได้ว่าสิ่งใดถือเป็นความรู้หรือเป็นข้อเท็จจริงที่เราควรนำมาปฏิบัติ
ความหมายของคำว่า
“ความรู้” มีนักวิชาการได้ให้ความหมายหรือคำนิยามในหลายประเด็น
ดังนี้
ความรู้
หมายถึง สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ
เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆโดยไม่กำหนดช่วงเวลา
(สํานักงาน ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ,2548; 8)
(สํานักงาน ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ,2548; 8)
ความรู้ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมายไว้ว่า ความรู้ คือสิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหรือจากประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ องค์วิชาในแต่ละสาขา
ความรู้
หมายถึง ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ ที่เป็นสภาพแวดล้อมและกรอบการทำงานสำหรับการประเมิน
และรวมกันของประสบการณ์
และสารสนเทศใหม่ (Davenport and Prusak)
และสารสนเทศใหม่ (Davenport and Prusak)
ดังนั้นสรุปได้ว่า
ความรู้ (Knowledge) ตามความหมายที่มีผู้ให้นิยามไว้หลายประเด็นหมายถึง
สารสนเทศที่นำไปสู่การปฏิบัติ เป็นเนื้อหาข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยข้อเท็จจริง ความคิดเห็น
หลักการ รูปแบบ กรอบความคิด
หรือข้อมูลอื่นๆซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ
รู้จักตัวช่วย “การจัดการความรู้” และ “ความรู้” หัวข้อแรกทำให้รู้จักการจัดการความรู้ในมุมมองหนึ่งว่า
การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ องค์กรปรับตัวเข้ากับโลกยุคปัจจุบันและโลกของการท
างานที่เปลี่ยนไป แก้ปัญหาเดิมๆ ในการทำงาน ช่วย ให้องค์กรก้าวหน้าสู่ระดับโลก
มีความเป็นเลิศ และองค์กรภาคราชการสามารถตอบสนองพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ.
2546
รวมทั้งตัวชี้วัด PMQA ของ ก.พ.ร. ด้วย มุมมองอื่นๆ
เกี่ยวกับการจัดการความรู้
1. การจัดการความรู้คือ การบริหารจัดการเพื่อให้“คน”ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับ“ความรู้”ที่ ต้องการใช้ ใน“เวลา”ที่ต้องการ (Right Knowledge, Right People, Right Time) (American Promotion and Quality Center, APQC)
2. การจัดการความรู้คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด (ก.พ.ร.)
3. การจัดการความรู้คือ เครื่องมือที่ใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่
3.1) บรรลุเป้าหมายของงาน
3.2) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
3.3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กร ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และ 4) บรรลุความเป็นชุมชน
1. การจัดการความรู้คือ การบริหารจัดการเพื่อให้“คน”ที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับ“ความรู้”ที่ ต้องการใช้ ใน“เวลา”ที่ต้องการ (Right Knowledge, Right People, Right Time) (American Promotion and Quality Center, APQC)
2. การจัดการความรู้คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด (ก.พ.ร.)
3. การจัดการความรู้คือ เครื่องมือที่ใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่
3.1) บรรลุเป้าหมายของงาน
3.2) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
3.3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กร ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และ 4) บรรลุความเป็นชุมชน
เป็นหมู่คณะ มีความเอื้ออาทรระหว่างกัน ในที่ทำงาน
การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่ดำเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือหน่วยงาน
ย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการท างานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นกว่าเดิม
(วิจารณ์ พาณิช) 4.
กิจกรรมที่ถือว่า เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ได้แก่ (วิจารณ์
พาณิช)
(4.1) การพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า ปัญหาที่พบบ่อย และแนวทางแก้ปัญหา
(4.1) การพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า ปัญหาที่พบบ่อย และแนวทางแก้ปัญหา
(4.2)
กำหนดผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เป็นคนภายในองค์กร ทำตารางรายชื่อและวิธีติดต่อ
(4.3)
ดึงเอาความรู้ออกมาจากผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้และกระจายความรู้ให้แก่ผู้อื่น
(4.4)
จัดทำโครงสร้างความรู้เพื่อให้ข้อมูลเป็นระบบ เข้าถึงง่าย และนำไปใช้ได้ง่าย
(4.5)
จัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นโดยอาจเป็นการประชุมตามปกติ
หรือผ่าน
การสื่อสารทางไกลรูปแบบต่างๆ
(4.6)
จัดกระบวนการกลุ่มให้คนจากต่างพื้นที่ได้ทำงานแก้ปัญหาร่วมกัน
และผลัดกันทำหน้าที่ผู้จัดการ ความรู้
(4.7)
ค้นหาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในความรู้และทักษะที่เป็นหัวใจของความสำเร็จของ
องค์การ
และหาทางให้ได้อยู่ในองค์การไปนานๆ
(4.8) ออกแบบการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคนในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินและพัฒนา ความรู้ของ
แต่ละคนในองค์การ
(4.9) ส่งเสริม ให้รางวัล หรือยกย่อง ปฏิบัติการที่นำไปสู่การแบ่งปันข้อมูลและดำเนินการเพื่อป้องกัน ไม่ให้
และหาทางให้ได้อยู่ในองค์การไปนานๆ
(4.8) ออกแบบการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคนในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินและพัฒนา ความรู้ของ
แต่ละคนในองค์การ
(4.9) ส่งเสริม ให้รางวัล หรือยกย่อง ปฏิบัติการที่นำไปสู่การแบ่งปันข้อมูลและดำเนินการเพื่อป้องกัน ไม่ให้
มีการปิดบังข้อมูล
(4.10) สร้างเครื่องอำนวยความสะดวกในการค้นหาและประยุกต์ใช้ความรู้
(4.10) สร้างเครื่องอำนวยความสะดวกในการค้นหาและประยุกต์ใช้ความรู้
(4.11)
วัด “ต้นทุนทางปัญญา” เพื่อหาทางจัดการความรู้ให้ดีขึ้น
(4.12) ทำความเข้าใจแนวโน้มของลูกค้า โดยศึกษาข้อมูลจากจุดให้บริการเกี่ยวกับความต้องการความพึง พอใจ และรสนิยมของลูกค้า จุดหมายปลายทางของการจัดการความรู้ไม่ใช่ความเป็นเลิศของการจัดการความรู้ เช่น การมีคลัง ความรู้ที่ทันสมัยครบถ้วน การมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร 6 อย่างทั่วถึง ฯลฯ ความเป็นเลิศของการจัดการความรู้เป็นสิ่งที่พึงประสงค์ แต่ไม่ใช่จุดประสงค์ของการ จัดการความรู้ องค์กรต่างๆ ดำเนินการจัดการความรู้เพื่อสิ่งต่อไปนี้ (เรียงลำดับตามจำนวนผู้เห็นด้วยจาก มากไปน้อย)
(4.12) ทำความเข้าใจแนวโน้มของลูกค้า โดยศึกษาข้อมูลจากจุดให้บริการเกี่ยวกับความต้องการความพึง พอใจ และรสนิยมของลูกค้า จุดหมายปลายทางของการจัดการความรู้ไม่ใช่ความเป็นเลิศของการจัดการความรู้ เช่น การมีคลัง ความรู้ที่ทันสมัยครบถ้วน การมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร 6 อย่างทั่วถึง ฯลฯ ความเป็นเลิศของการจัดการความรู้เป็นสิ่งที่พึงประสงค์ แต่ไม่ใช่จุดประสงค์ของการ จัดการความรู้ องค์กรต่างๆ ดำเนินการจัดการความรู้เพื่อสิ่งต่อไปนี้ (เรียงลำดับตามจำนวนผู้เห็นด้วยจาก มากไปน้อย)
1.
ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ
2.
ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม
3.
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4.
ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลาก
5.
เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและเร็วขึ้นแหล่งที่มา สำนักงานสนับสนุนการจัดการความรู้ กรมอนามัย
ไรแว๊ๆๆๆๆๆ >< ???
ตอบลบสวยยยยค่ะ
ตอบลบ*-* อุ้ยดูดี 555 @พรทิพย์ กิจราช
ตอบลบสวยมาก ขอลิ้งผ่าพิภพไททันหน่อย
ตอบลบ55555 !!! ไททันนนนนนน
ลบเชดดดดดด ><
ลบ